Knowledge Center

Inventory Management คืออะไร มีประเภท มีประโยชน์อย่างไรบ้าง 

nventory Management คืออะไร มี่ประเภท มีประโยชน์อย่างไรบ้าง

การบริหารจัดการสินค้าในคลังเป็นหัวใจสำคัญของธุรกิจในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะธุรกิจ E-commerce ที่ต้องการความแม่นยำและรวดเร็วในการจัดการสต็อกสินค้า Inventory Management คือระบบที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถติดตาม วางแผนและควบคุมสินค้าคงคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มั่นใจได้ว่ามีสินค้าเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า ขณะเดียวกันก็ไม่มีสินค้าค้างสต็อกมากเกินไปจนกระทบต่อต้นทุน บทความนี้จะพาคุณไปทำความรู้จักกับระบบ Inventory Management กันว่าคืออะไร มีกี่ประเภทและมีประโยชน์อย่างไรบ้าง   

Inventory Management คืออะไร

Inventory Management คือกระบวนการบริหารจัดการคลังสินค้าแบบครบวงจร ที่ครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนสต็อกสินค้า การติดตามการไหลเวียนของสินค้าตั้งแต่กระบวนการผลิตไปจนถึงการจัดเก็บและการขาย โดยจะช่วยให้ธุรกิจสามารถจัดการสินค้าให้มีปริมาณที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา ลดภาระในการเก็บสินค้ามากเกินความจำเป็น และช่วยให้มีสินค้าพร้อมจำหน่ายได้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด นอกจากนี้ Inventory Management ยังเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยลดต้นทุนการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน 

ประเภทของสินค้าคงคลัง

การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) ที่มีประสิทธิภาพเริ่มต้นจากความเข้าใจในประเภทของสินค้าที่จัดเก็บ เพราะสินค้าแต่ละประเภทต้องการการดูแลและจัดการที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะ Inventory Management คือระบบที่ต้องรองรับการจัดการสินค้าทุกประเภทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถแยกออกได้ 4 ประเภท ดังนี้   

การจัดการสินค้าคงคลัง

สินค้าพร้อมขาย 

สินค้าที่เตรียมพร้อมสำหรับการจัดส่งให้ลูกค้าทันทีที่มีคำสั่งซื้อเข้ามา ดังนั้น การบริหารสินค้าคงคลังหรือ Inventory Management คือตัวช่วยหลังบ้านที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้ร้านค้าสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และจัดส่งสินค้าตามระยะเวลา (SLA) ได้ตาามกำหนด สร้างความพึงพอใจและประทับใจตั้งแต่การสั่งซื้อครั้งแรก 

สินค้าสำหรับโปรโมชั่น  

สินค้าสำหรับโปรโมชั่นเป็นสินค้าที่จัดเตรียมไว้เพื่อเพิ่มมูลค่าการขาย ไม่ว่าจะเป็นสินค้าสำหรับแถมฟรี สินค้าตัวอย่างหรือสินค้าขนาดทดลองที่จะนำไปจัดชุดร่วมกับสินค้าหลัก (Bundle) และเมื่อมีการจัดแคมเปญเมื่อไหร่ หากไม่มีสินค้านี้สต็อกเก็บไว้ก็อาจจะเกิดปัญหาการจัดส่งที่ล่าช้าได้ ดังนั้น การมีระบบจัดการสต็อกที่ดีสำหรับสินค้าประเภทนี้จะช่วยให้สามารถวางแผนและดำเนินการจัดโปรโมชั่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดปัญหาสินค้าขาดหรือเกินความต้องการ   

วัสดุเพิ่มมูลค่าแบรนด์  

องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ช่วยยกระดับประสบการณ์การช้อปปิ้งของลูกค้า เช่น กล่องใส่สินค้าที่มีโลโก้แบรนด์ ถุงผ้าแบรนด์ หรือการ์ดขอบคุณที่ออกแบบพิเศษ การบริหารจัดการวัสดุเหล่านี้ให้มีพร้อมใช้งานอยู่เสมอจะช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความน่าเชื่อถือให้กับแบรนด์ รวมถึงเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าหลักได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

วัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการขาย

วัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น กล่องพัสดุเพื่อขนส่งสินค้า โบรชัวร์ หรือการ์ดขอบคุณที่ทำให้ลูกค้ารู้สึกพิเศษหรือของแถมต่าง ๆ เตรียมไว้ให้พร้อมในกรณีที่ต้องแพ็คสินค้าให้ทันออเดอร์ที่เข้ามาอย่างล้นหลาม และเมื่อลูกค้าได้รับสินค้าก็จะยิ่งเพิ่มความประทับใจให้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รับ  

ประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) มีอะไรบ้าง

  • เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการคลังสินค้า ระบบช่วยให้การจัดเก็บและติดตามสินค้ามีความแม่นยำสูง ลดความผิดพลาดในการจัดการสต็อก สามารถตรวจสอบสถานะสินค้าได้แบบเรียลไทม์
  • ประหยัดต้นทุนการดำเนินงาน ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงาน ลดความสูญเสียจากความผิดพลาดในการทำงาน ประหยัดพื้นที่จัดเก็บด้วยการบริหารสต็อกที่มีประสิทธิภาพ
  • ป้องกันปัญหาสินค้าค้างสต็อก Inventory Management คือตัวช่วยวิเคราะห์อัตราการหมุนเวียนของสินค้า แจ้งเตือนเมื่อสินค้าใกล้หมดหรือมีมากเกินไป ช่วยในการวางแผนการสั่งซื้อที่แม่นยำ หมด ปัญหาการขายของออนไลน์ ยกระดับการให้บริการลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • จัดส่งสินค้าได้รวดเร็วขึ้น ลดปัญหาสินค้าขาดสต็อก สามารถให้ข้อมูลสถานะสินค้าแบบ Real-time และแม่นยำให้แก่ลูกค้า
  • เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน วางแผนการตลาดและการขายได้แม่นยำขึ้น รองรับการเติบโตของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มโอกาสในการทำกำไร

สินค้าคงคลังแตกต่างจากคลังสินค้าอย่างไร 

ความแตกต่างระหว่างสินค้าคงคลัง (Inventory) และคลังสินค้า (Warehouse) ในระบบ Inventory Management คือสิ่งสำคัญเป็นอย่างมาก โดยสินค้าคงคลัง (Inventory) หมายถึงตัวสินค้าที่จัดเก็บไว้เพื่อรอการจำหน่ายหรือใช้งาน ในขณะที่คลังสินค้า (Warehouse) คือสถานที่หรือโกดังที่ใช้ในการจัดเก็บสินค้าเหล่านั้น

MyCloud เข้าใจความสำคัญของการบริหารจัดการทั้งสองส่วนนี้ จึงได้พัฒนาระบบ Inventory Management ซึ่งช่วยควบคุมการทำงานทุกขั้นตอนในคลังสินค้า ตั้งแต่การรับสินค้า การจัดเก็บสินค้าและจำแนกประเภท การนับสต็อกและหยิบสินค้าออกมาทำการแพ็คส่ง โดยทุกขั้นตอนจะทำงานผ่านระบบโดยการสแกนบาร์โค้ด ช่วยให้การตรวจสอบสินค้าคงคลังมีความแม่นยำมากขึ้น และยังมีการแจ้งเตือนหากสินค้าของคุณมีจำนวนคงเหลือต่ำกว่าที่กำหนดไว้ (Safety Stock) ช่วยให้คุณสามารถบริหารจัดการสินค้าคงคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

การจัดการสินค้าคงคลัง

สรุปบทความ 

Inventory Management คือกุญแจสำคัญสู่ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบัน ระบบการจัดการสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงช่วยลดต้นทุนการดำเนินงาน แต่ยังช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและยกระดับการให้บริการลูกค้า ดังนั้นการเลือกใช้ระบบการจัดการสินค้าที่เหมาะสม และการวางแผนที่ดีจะช่วยให้ธุรกิจสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืนMyCloud Fulfillment เข้าใจความสำคัญของการจัดการคลังสินค้าออนไลน์เป็นอย่างดี สำหรับเรา Inventory Management คือหัวใจสำคัญของการให้บริการ โดยมีคลังสินค้าออนไลน์ทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ ลาดกระบัง มีนบุรี บนพื้นที่รวมกว่า 12,000 ตารางเมตร ที่ตั้งอยู่ในทำเลยุทธศาสตร์ใกล้ถนนใหญ่และสนามบิน ทำให้การขนส่งสินค้าทำได้สะดวกรวดเร็ว ทั้งการขนส่งภายในประเทศผ่านเส้นทางหลักและการส่งออกระหว่างประเทศ ช่วยประหยัดเวลาและต้นทุนการขนส่งให้กับธุรกิจของคุณ ทำงานผ่านระบบการจัดการ 100% พร้อมทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้คำแนะนำช่วยเหลือในทุกขั้นตอน เราจึงพร้อมเป็นพาร์ทเนอร์ที่จะช่วยยกระดับการจัดการคลังสินค้าของคุณให้ครอบคลุมทุกความต้องการ

บทความที่เกี่ยวข้อง

อ่านเพิ่มเติม

WMS คืออะไร แก้ปัญหาคลังสินค้าด้วย ระบบบริหารจัดการคลังสินค้า 

ในยุคที่การแข่งขันทางธุรกิจสูงขึ้นเรื่อยๆ การบริหารจัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ต้องรับมือกับความท้าทายในการจัดการสต็อกสินค้า การรับเข้า-จ่ายออก และการจัดส่งที่รวดเร็วตรงเวลา ระบบ WMS หรือ Warehouse Management System จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ลดความผิดพลาด และยกระดับการให้บริการลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น  WMS คืออะไร  Warehouse Management System หรือ WMS คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคลังสินค้าแบบครบวงจร ครอบคลุมตั้งแต่การรับสินค้าเข้าคลัง การจัดเก็บ การควบคุมสต็อก ไปจนถึงการเบิกจ่ายและจัดส่งสินค้า ระบบนี้ช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถติดตามสถานะสินค้าได้แบบเรียลไทม์ ลดความผิดพลาดในการทำงาน และช่วยให้การบริหารพื้นที่คลังสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ยังช่วยลดต้นทุนการดำเนินงานผ่านการเพิ่มความแม่นยำในการจัดการสต็อกและลดการสูญเสียจากสินค้าหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ  หลักการทำงานของระบบ Warehouse Management มีอะไรบ้าง  การทำงานของระบบ WMS แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการหลักที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การบริหารจัดการคลังสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำสูงสุด โดยแต่ละกระบวนการมีความสำคัญและบทบาทที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้  1. การรับสินค้า กระบวนการรับสินค้าถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการบริหารคลังสินค้า WMS คือระบบที่ช่วยให้การรับสินค้าเป็นไปอย่างมีระบบและแม่นยำ โดยเริ่มจากการตรวจสอบคุณภาพสินค้าเบื้องต้น (Quality Control) เปรียบเทียบกับใบสั่งซื้อสินค้า เพื่อจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ เช่น […]

ร้านค้าที่มีออเดอร์เยอะ ๆ เขามีระบบจัดการหลังบ้านอะไรมาช่วย ?

ขายของดี ออเดอร์เยอะ แต่จัดการไม่ไหว ทำไงดี ? เคยสงสัยกันไหมครับว่าร้านดัง ๆ ออเดอร์เยอะ ๆ เขาจัดการกันยังไง ให้ส่งของถึงลูกค้าทุกคนโดยไม่ผิดพลาดและไม่ตกหล่น แน่นอนครับว่าหากใช้แรงงานคนในการทำงาน ย่อมมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ครับ อาจเพราะหลงลืม หรือเพราะการติดต่อสื่อสารที่คลาดเคลื่อนต่าง ๆ วันนี้ผมมีเทคนิคที่องค์กรส่วนใหญ่ใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาจัดการออเดอร์ไม่ไหว มาบอกเพื่อน ๆ นักธุรกิจครับ Order Management คืออะไร Order Management คือ การบริหารจัดการการสั่งซื้อสินค้าและบริการ ซึ่งครอบคลุมทุกขั้นตอนในการสั่งซื้อ ตั้งแต่ลูกค้ากดสั่งสินค้า จนไปถึงขั้นตอนสุดท้ายคือการส่งของให้ถึงมือลูกค้า ซึ่งมีความซับซ้อนมาก เพราะในแต่ละขั้นตอนก็มีรายละเอียดและปัญหาแตกต่างกัน กระบวนการทำงานของแต่ละองค์กร อาจจะแตกต่างกัน โดยกระบวนการจัดการคำสั่งซื้อประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ๆ ได้แก่           1. Placement           2. Fulfillment         […]

WMS คืออะไร แก้ปัญหาคลังสินค้าด้วย ระบบบริหารจัดการคลังสินค้า 

ในยุคที่การแข่งขันทางธุรกิจสูงขึ้นเรื่อยๆ การบริหารจัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ต้องรับมือกับความท้าทายในการจัดการสต็อกสินค้า การรับเข้า-จ่ายออก และการจัดส่งที่รวดเร็วตรงเวลา ระบบ WMS หรือ Warehouse Management System จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ลดความผิดพลาด และยกระดับการให้บริการลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น  WMS คืออะไร  Warehouse Management System หรือ WMS คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคลังสินค้าแบบครบวงจร ครอบคลุมตั้งแต่การรับสินค้าเข้าคลัง การจัดเก็บ การควบคุมสต็อก ไปจนถึงการเบิกจ่ายและจัดส่งสินค้า ระบบนี้ช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถติดตามสถานะสินค้าได้แบบเรียลไทม์ ลดความผิดพลาดในการทำงาน และช่วยให้การบริหารพื้นที่คลังสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ยังช่วยลดต้นทุนการดำเนินงานผ่านการเพิ่มความแม่นยำในการจัดการสต็อกและลดการสูญเสียจากสินค้าหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ  หลักการทำงานของระบบ Warehouse Management มีอะไรบ้าง  การทำงานของระบบ WMS แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการหลักที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การบริหารจัดการคลังสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำสูงสุด โดยแต่ละกระบวนการมีความสำคัญและบทบาทที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้  1. การรับสินค้า กระบวนการรับสินค้าถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการบริหารคลังสินค้า WMS คือระบบที่ช่วยให้การรับสินค้าเป็นไปอย่างมีระบบและแม่นยำ โดยเริ่มจากการตรวจสอบคุณภาพสินค้าเบื้องต้น (Quality Control) เปรียบเทียบกับใบสั่งซื้อสินค้า เพื่อจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ เช่น […]

ร้านค้าที่มีออเดอร์เยอะ ๆ เขามีระบบจัดการหลังบ้านอะไรมาช่วย ?

ขายของดี ออเดอร์เยอะ แต่จัดการไม่ไหว ทำไงดี ? เคยสงสัยกันไหมครับว่าร้านดัง ๆ ออเดอร์เยอะ ๆ เขาจัดการกันยังไง ให้ส่งของถึงลูกค้าทุกคนโดยไม่ผิดพลาดและไม่ตกหล่น แน่นอนครับว่าหากใช้แรงงานคนในการทำงาน ย่อมมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ครับ อาจเพราะหลงลืม หรือเพราะการติดต่อสื่อสารที่คลาดเคลื่อนต่าง ๆ วันนี้ผมมีเทคนิคที่องค์กรส่วนใหญ่ใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาจัดการออเดอร์ไม่ไหว มาบอกเพื่อน ๆ นักธุรกิจครับ Order Management คืออะไร Order Management คือ การบริหารจัดการการสั่งซื้อสินค้าและบริการ ซึ่งครอบคลุมทุกขั้นตอนในการสั่งซื้อ ตั้งแต่ลูกค้ากดสั่งสินค้า จนไปถึงขั้นตอนสุดท้ายคือการส่งของให้ถึงมือลูกค้า ซึ่งมีความซับซ้อนมาก เพราะในแต่ละขั้นตอนก็มีรายละเอียดและปัญหาแตกต่างกัน กระบวนการทำงานของแต่ละองค์กร อาจจะแตกต่างกัน โดยกระบวนการจัดการคำสั่งซื้อประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ๆ ได้แก่           1. Placement           2. Fulfillment         […]